

รายชื่อผู้ลงทะเบียน
SPEAKERS
TOPICS
SEATS
พบกับแนวคิดใหม่เรื่องพื้นที่สาธารณะ บทบาทห้องสมุด และแนวโน้มการเรียนรู้ จากประสบการณ์ไทยและต่างประเทศ
เหมาะสำหรับบรรณารักษ์ ครู อาจารย์ และบุคลากรด้านการศึกษา
SPEAKERS

กิตติรัตน์ ปิติพานิช
รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้และผู้อำนวยการสถาบันอุทยานการเรียนรู้

กิตติรัตน์ ปิติพานิช
รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้และผู้อำนวยการสถาบันอุทยานการเรียนรู้

คริสตัล ลิม-แลงจ์ (Crystal Lim-Lange)
ผู้เชี่ยวชาญด้านทุนมนุษย์ การศึกษา และอาชีพในอนาคต ประเทศสิงคโปร์

คริสตัล ลิม-แลงจ์ (Crystal Lim-Lange)
ผู้เชี่ยวชาญด้านทุนมนุษย์ การศึกษา และอาชีพในอนาคต ประเทศสิงคโปร์

จารุณี สินชัยโรจน์กุล
ผู้บริหารโครงการด้านการศึกษา บริษัท กูเกิล ประเทศไทย จำกัด

จารุณี สินชัยโรจน์กุล
ผู้บริหารโครงการด้านการศึกษา บริษัท กูเกิล ประเทศไทย จำกัด

แอนดี้ พรีสต์เนอร์ (Andy Priestner)
ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและวิจัยประสบการณ์ของผู้ใช้งาน (UX) สหราชอาณาจักร

แอนดี้ พรีสต์เนอร์ (Andy Priestner)
ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและวิจัยประสบการณ์ของผู้ใช้งาน (UX) สหราชอาณาจักร

ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์
ผู้อำนวยการศูนย์การออกแบบเพื่อสังคม (CUD4S) จุฬาฯ

ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์
ผู้อำนวยการศูนย์การออกแบบเพื่อสังคม (CUD4S) จุฬาฯ

คริสเตียน ลอเออร์เซน (Christian Lauersen)
ผู้อำนวยการห้องสมุดประชาชนรอสกิลด์ เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก

คริสเตียน ลอเออร์เซน (Christian Lauersen)
ผู้อำนวยการห้องสมุดประชาชนรอสกิลด์ เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก

พิเทอเนล ไธจ์เซน (Pieternel Thijssen)
ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรม ห้องสมุดลอคฮาล เมืองทิลเบิร์ก ประเทศเนเธอร์แลนด์

พิเทอเนล ไธจ์เซน (Pieternel Thijssen)
ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรม ห้องสมุดลอคฮาล เมืองทิลเบิร์ก ประเทศเนเธอร์แลนด์

เรืองโรจน์ (กระทิง) พูนผล
ประธาน Kasikorn Business-Technology Group (KBTG)

เรืองโรจน์ (กระทิง) พูนผล
ประธาน Kasikorn Business-Technology Group (KBTG)
เวลา | หัวข้อ |
---|---|
9.00 - 9.30 น. | ลงทะเบียน |
9.30 - 9.45 น. | พิธีเปิดการประชุม - นายกิตติรัตน์ ปิติพานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้และผู้อำนวยการสถาบันอุทยานการเรียนรู้ กล่าวรายงาน - นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ ประธานกรรมการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ กล่าวเปิดงาน - คณะผู้บริหารและวิทยากร ถ่ายภาพร่วมกัน |
9.45 - 10.15 น. | นำเสนอข้อมูล “ประเทศไทยอยู่ตรงไหนในโลกการเรียนรู้?” โดย กิตติรัตน์ ปิติพานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้และผู้อำนวยการสถาบันอุทยานการเรียนรู้ |
10.15 - 10.30 น. | ชา กาแฟ อาหารว่าง |
10.30 - 11.20 น. | "Deep Human Resilience - the Skills and Mindsets We Need to Succeed in an Era of Change” โดย คริสตัล ลิม-แลงจ์ (Crystal Lim-Lange) อดีตผู้อำนวยการ NUS Centre for Future-ready Graduates มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) และผู้ก่อตั้งบริษัท Forest Wolf ประเทศสิงคโปร์ |
11.20 - 12.00 น. | “To Organize World's Information and the Future of Education and Learning” โดย จารุณี สินชัยโรจน์กุล ผู้บริหารโครงการด้านการศึกษา บริษัท กูเกิล ประเทศไทย จำกัด |
12.00 - 13.00 น. | อาหารกลางวัน |
13.00 - 13.35 น. | “Libraries are for users: the value and application of UX research and design” โดย แอนดี้ พรีสต์เนอร์ (Andy Priestner) ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและวิจัยประสบการณ์ของผู้ใช้งาน (UX) สหราชอาณาจักร |
13.35 - 14.20 น. | “การเปลี่ยนแปลงสังคมเชิงระบบด้วยปัญญารวมหมู่” โดย ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์ ผู้อำนวยการศูนย์การออกแบบเพื่อสังคม (CUD4S) จุฬาฯ และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม |
14.20 - 14.35 น. | ชา กาแฟ อาหารว่าง |
14.35 - 15.10 น. | “A Room Is Not Just a Room: the Library as Place and Why It Matters” โดย คริสเตียน ลอเออร์เซน (Christian Lauersen) ผู้อำนวยการห้องสมุดประชาชนรอสกิลด์ เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก |
15.10 - 15.45 น. | “LocHal: Transformation from a Lending to a Social Library” โดย พีเทอเนล ไธจ์เซน (Pieternel Thijssen) ผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรม ห้องสมุดลอคฮาล เมืองทิลเบิร์ก ประเทศเนเธอร์แลนด์ |
15.45 - 16.30 น. | “The Future of EdTech and Future of Education” โดย เรืองโรจน์ (กระทิง) พูนผล ประธาน Kasikorn Business-Technology Group (KBTG) |
ABOUT
TK Forum เริ่มขึ้นครั้งแรกในปี 2552 และมีการจัดอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี ครอบคลุมหัวข้อการอ่านและการเรียนรู้ในมิติต่างๆ โดยเน้นนำเสนอประสบการณ์ แนวคิด และองค์ความรู้สากล มาเผยแพร่สู่สังคมไทย เพื่อจุดประกายความคิดให้เกิดการวิเคราะห์เปรียบเทียบ พัฒนา และปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทไทย
หัวข้อการประชุมสัมมนาที่ผ่านมา อาทิ “ข้อเสนอนโยบายการอ่านของไทย จากประสบการณ์ต่างประเทศ: สวีเดน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้” (2553) “อ่านเพื่อนบ้าน: ประสบการณ์ส่งเสริมการอ่านของสิงคโปร์ ลาว และเวียดนาม” (2554) “Towards ASEAN Citizenship with Books and Reading” (2554-2556) “Learning in the Digital Era” (2557) “Library Futures: Challenges and Trends” (2558) “Library Innovation and Learning in the 21st Century” (2559) “Better Library and Learning Space: Trends and Ideas” (2560) “Creating Better Library: The Unfinished Knowledge” (2561) “Design Library, Engage Community” (2562) และ “Finland Library and Education in the Age of Disruption” (2563)
การประชุม TK Forum 2021 หัวข้อ “Library and Public Space for Learning” มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดแนวคิดและประสบการณ์การพัฒนาห้องสมุดและพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรียนรู้ที่โดดเด่นน่าสนใจของต่างประเทศ รวมถึงกรณีศึกษาของประเทศไทย การประชุมครั้งนี้ เป็นการจัดงานในรูปแบบผสมผสาน (Hybrid Conference) เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยวิทยากรต่างประเทศบรรยายผ่านช่องทางดิจิทัล ส่วนวิทยากรในประเทศบรรยายสดในห้องประชุม และมีการถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live ตลอดการประชุม
VENUE
ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมเอส 31 ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ


DOWNLOAD
ประเทศไทยอยู่ตรงไหนในโลกการเรียนรู้?
โดย กิตติรัตน์ ปิติพานิช
Libraries Are for Users: the Value and Application of UX Research and Design
โดย แอนดี้ พรีสต์เนอร์ (Andy Priestner)
A Room Is Not Just a Room: The Library as Place and Why It Matters
โดย คริสเตียน ลอเออร์เซน (Christian Lauersen)
“การเปลี่ยนแปลงสังคมเชิงระบบด้วยปัญญารวมหมู่”
โดย ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์
LocHal: Transformation from a Lending to a Social Library
โดย พีเทอเนล ไธจ์เซน (Pieternel Thijssen)
Deep Human Resilience – the Skills and Mindsets We Need to Succeed in an Era of Change
โดย คริสตัล ลิม-แลงจ์ (Crystal Lim-Lange)
CONTACT
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม